พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
พระปิดตาวัดท้าย...
พระปิดตาวัดท้ายตลาด พิมพ์สมาธิแหวกม่าน มีรางวัล
พระวัดท้ายตลาด กรุงเทพมหานคร
"พระวัดท้ายตลาด มีการค้นพบเมื่อครั้งกรุพระเจดีย์แตก ได้ปรากฎพระพิมพ์เนื้อผง จำนวนมากมายถึง 89,000 องค์ "
วัดท้ายตลาด เป็นวัดโบราณตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ทำเลที่ตั้งอยู่ริมคลองบางกอกใหญ่ หลังพระราชวังเดิม ในอดีตสมัยกรุงธนบุรีเป็นราชธานี บริเวณดังกล่าวนี้ ชาวบ้านเรียกกันว่า “ท้ายตลาด” หรือ “ท้ายพระราชวังเดิม” จึงนิยมเรียกขานวัดนี้กันว่า "วัดท้ายตลาด" และในวงการนักนิยมสะสมพระเครื่องทุกยุคทุกสมัยก็มักเรียกพระเครื่องจากกรุพระเจดีย์วัดนี้กันติดปากว่า "พระวัดท้ายตลาด" เช่นกัน
ย้อนไปในสมัยกรุงธนบุรี วัดท้ายตลาดนับเป็นวัดสำคัญคู่บ้านคู่เมือง สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงโปรดฯ ให้เป็นสถานที่ประกอบพระราชพิธีทางศาสนา เช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา และวัดพระศรีรัตนศาสดารามหรือวัดพระแก้วในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ และยังคงมีความสำคัญต่อเนื่องจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์แห่งราชวงศ์จักรียังทรงมีความผูกพันกับวัดท้ายตลาดมาโดยตลอด อาทิเช่น รัชกาลที่ 1 ทรงโปรดฯ อาราธนาสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ขุน) ให้เป็นเจ้าอาวาสวัดท้ายตลาด รัชกาลที่ 2 ทรงพระราชทานนามวัดท้ายตลาดว่า "วัดพุทไธศวรรยาวาส” หรือ "วัดพุทไธศวรรย์" ต่อมาพระราชทานนามใหม่เป็น "วัดโมลีโลกยาราม" จนถึงปัจจุบัน และพระราชโอรสในพระองค์เมื่อทรงพระเยาว์ก็เสด็จไปศึกษาอักขระสมัยเบื้องต้นกับท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ขุน) ที่วัดนี้ รวมทั้งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 และ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 รัชกาลที่ 3 เมื่อคราวท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ขุน) พระราชกรรมวาจาจารย์ของพระองค์มรณภาพลง ทรงโปรดฯ ให้หล่อพระรูปสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ขุน) 2 รูป “รูปเล็ก” บูชาอยู่ในหอพระเจ้า ส่วน “รูปใหญ่” ทรงโปรดฯ ให้สร้างหอเพื่อเป็นที่ประดิษฐานไว้ที่วัดโมลีโลกยารามหรือวัดท้ายตลาด โดยเป็นการหล่อในโอกาสเดียวกับรูปหล่อพระรูปสมเด็จพระสังฆราชพระญาณสังวร (สุก) สังฆราชไก่เถื่อน ที่ วัดพลับ มาถึงสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 ก็ยังมีการบูรณปฏิสังขรณ์พระอารามอย่างสม่ำเสมอ และในคราวที่พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์เสด็จฯ พระราชทานพระกฐิน จะทรงเสด็จฯ ไปสักการะพระรูปสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ขุน) ทุกครั้ง
พระวัดท้ายตลาด มีการค้นพบเมื่อครั้งกรุพระเจดีย์แตก ได้ปรากฎพระพิมพ์เนื้อผง จำนวนมากมายถึง 89,000 องค์ และมีหลายแบบหลายพิมพ์ ทั้ง พระพิมพ์ปางอุ้มบาตร พระพิมพ์ปางประทานพร พระพิมพ์ปางปรกโพธิ์ข้างเม็ด ปางโมคคัลลาน์-สารีบุตร ฯลฯ ซึ่งปางต่างๆ ดังกล่าว ล้วนเป็นคติการสร้างพระพุทธรูปซึ่งเกิดใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 3 ทั้งสิ้น นอกจากนี้ พุทธลักษณะองค์พระนับเป็นการออกแบบที่ได้สัดส่วนงดงามและประณีต ซึ่งดูแล้วน่าจะเป็นฝีมือการสร้างในระดับ “ช่างหลวง” ที่สำคัญ พระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเหมือนอย่างโบราณกษัตริย์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ด้วยการสร้างพระพิมพ์ตามจำนวนพระธรรมขันธ์ เพื่อเป็นการสืบทอดพระศาสนา จึงทรงโปรดฯ ให้ สมเด็จพระสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงคิดค้นคัดเลือกพระพุทธอิริยาบถปางต่างๆ ในพระพุทธประวัติ (นับรวมกับแบบเดิม 8 ปาง เป็น 40 ปาง ประดิษฐานไว้ในหอราชกรมานุสร วัดพระศรีรัตนศาสดาราม) จึงสันนิษฐานได้ว่าพระวัดท้ายตลาด น่าจะสร้างขึ้นโดยรัชกาลที่ 3 และด้วยเหตุผลประการสุดท้าย คือ การจะสร้างพระได้จำนวนมากมายถึง 8 หมื่นกว่าองค์นั้น สามัญชนคนธรรมดาทั่วไปคงจะเป็นไปได้ยากมากแน่นอน
ในช่วงแรกๆ ที่กรุแตกนั้น พระวัดท้ายตลาดยังไม่เป็นที่นิยมแพร่หลายนัก จนเมื่อคราวเกิดสงครามอินโดจีน ได้มีการนำพระซึ่งมีจำนวนมากส่งไปยังกระทรวงกลาโหม เพื่อแจกจ่ายไปยังเหล่าทัพต่างๆ เป็นการสร้างขวัญกำลังใจ ด้วยพุทธคุณเป็นที่ปรากฏประจักษ์แก่สายตาผู้ที่เข้าร่วมทัพ และบอกเล่าต่อเนื่องกันปากต่อปาก ทำให้พระวัดท้ายตลาดได้รับความนิยมและเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น จนปัจจุบันกลายเป็นพระพิมพ์เนื้อผงยอดนิยมสำหรับวงการนักนิยมสะสมพระเครื่องพระบูชาไทยไปแล้ว
ข้อสังเกตที่จะฝากไว้ในการพิจารณา “พระวัดท้ายตลาด” ประการหนึ่ง คือ นอกจากพระที่นำมาแจกจ่ายเมื่อคราวสงครามอินโดจีนแล้ว ยังมีการนำพระบางส่วนไปบรรจุในกรุพระเจดีย์ตามวัดต่างๆ อาทิ วัดตะล่อมและวัดธนบุรี เป็นต้น ดังนั้น จากสภาพแวดล้อมและสภาวะภายในกรุแต่ละกรุที่แตกต่างกัน องค์พระจึงมีลักษณะพื้นผิวที่ต่างกันด้วย เช่น พระที่นำไปบรรจุไว้ที่วัดตะล่อม ซึ่งจะบรรจุใต้ฐานชุกชีคลุกอยู่กับปูนขาว ทำให้เวลานำองค์พระออกมา ผิวขององค์พระจึงถูกปูนขาวจับอยู่โดยทั่วไป แลดูไม่เข้มขลังเหมือนกับพระที่ออกจากกรุวัดท้ายตลาด ความนิยมจึงลดหลั่นแตกต่างกันไปครับผม
ผู้เข้าชม
13576 ครั้ง
ราคา
-
สถานะ
โชว์พระ
โดย
makara995
ชื่อร้าน
มะกะระ พระกรุ
ร้านค้า
makara.99wat.com
โทรศัพท์
0813116011
ไอดีไลน์
0818306399
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
244-0-006xx-x
หลวงพ่อโต บางกระทิง ปางมารวิชั
พระนางแขนอ่อน ชินเงิน สุโขทัย1
พระแผงซุ้มคอระฆัง กรุวัดราชบูร
พระนาคปรกลูกยอกำแพงเพชร ที่4
พระปรกโพธิ์เชียงแสน--พิมพ์ใหญ่
ยอดขุนพลเสมาตัด กรุบรมธาตุ กำแ
พระพิมพ์เล็บมือ เนื้อผง วัดเงิ
พระยอดขุนพล กรุเตาทุเรียง พ
พระซุ้มยอ กรุวัดพิกุล จังหวัดก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
นรินทร์ ทัพไทย
Erawan
โก้ สมุทรปราการ
หมอเสกโคราช
kaew กจ.
เปียโน
หริด์ เก้าแสน
นานา
อ้วนโนนสูง
ภูมิ IR
Beerchang พระเครื่อง
varavet
เจนพระเครือง
โกหมู
Le29Amulet
KoonThong_Amulets
เจริญสุข
termboon
ยิ้มสยาม573
someman
Paphon07
พีพีพระเครื่อง
chathanumaan
Achi
somphop
อี๋ ล็อคเกต
fuchoo18
บี บุรีรัมย์
Chobdoysata
chaithawat
ผู้เข้าชมขณะนี้ 1135 คน
เพิ่มข้อมูล
พระปิดตาวัดท้ายตลาด พิมพ์สมาธิแหวกม่าน มีรางวัล
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
พระปิดตาวัดท้ายตลาด พิมพ์สมาธิแหวกม่าน มีรางวัล
รายละเอียด
พระวัดท้ายตลาด กรุงเทพมหานคร
"พระวัดท้ายตลาด มีการค้นพบเมื่อครั้งกรุพระเจดีย์แตก ได้ปรากฎพระพิมพ์เนื้อผง จำนวนมากมายถึง 89,000 องค์ "
วัดท้ายตลาด เป็นวัดโบราณตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ทำเลที่ตั้งอยู่ริมคลองบางกอกใหญ่ หลังพระราชวังเดิม ในอดีตสมัยกรุงธนบุรีเป็นราชธานี บริเวณดังกล่าวนี้ ชาวบ้านเรียกกันว่า “ท้ายตลาด” หรือ “ท้ายพระราชวังเดิม” จึงนิยมเรียกขานวัดนี้กันว่า "วัดท้ายตลาด" และในวงการนักนิยมสะสมพระเครื่องทุกยุคทุกสมัยก็มักเรียกพระเครื่องจากกรุพระเจดีย์วัดนี้กันติดปากว่า "พระวัดท้ายตลาด" เช่นกัน
ย้อนไปในสมัยกรุงธนบุรี วัดท้ายตลาดนับเป็นวัดสำคัญคู่บ้านคู่เมือง สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงโปรดฯ ให้เป็นสถานที่ประกอบพระราชพิธีทางศาสนา เช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา และวัดพระศรีรัตนศาสดารามหรือวัดพระแก้วในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ และยังคงมีความสำคัญต่อเนื่องจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์แห่งราชวงศ์จักรียังทรงมีความผูกพันกับวัดท้ายตลาดมาโดยตลอด อาทิเช่น รัชกาลที่ 1 ทรงโปรดฯ อาราธนาสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ขุน) ให้เป็นเจ้าอาวาสวัดท้ายตลาด รัชกาลที่ 2 ทรงพระราชทานนามวัดท้ายตลาดว่า "วัดพุทไธศวรรยาวาส” หรือ "วัดพุทไธศวรรย์" ต่อมาพระราชทานนามใหม่เป็น "วัดโมลีโลกยาราม" จนถึงปัจจุบัน และพระราชโอรสในพระองค์เมื่อทรงพระเยาว์ก็เสด็จไปศึกษาอักขระสมัยเบื้องต้นกับท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ขุน) ที่วัดนี้ รวมทั้งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 และ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 รัชกาลที่ 3 เมื่อคราวท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ขุน) พระราชกรรมวาจาจารย์ของพระองค์มรณภาพลง ทรงโปรดฯ ให้หล่อพระรูปสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ขุน) 2 รูป “รูปเล็ก” บูชาอยู่ในหอพระเจ้า ส่วน “รูปใหญ่” ทรงโปรดฯ ให้สร้างหอเพื่อเป็นที่ประดิษฐานไว้ที่วัดโมลีโลกยารามหรือวัดท้ายตลาด โดยเป็นการหล่อในโอกาสเดียวกับรูปหล่อพระรูปสมเด็จพระสังฆราชพระญาณสังวร (สุก) สังฆราชไก่เถื่อน ที่ วัดพลับ มาถึงสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 ก็ยังมีการบูรณปฏิสังขรณ์พระอารามอย่างสม่ำเสมอ และในคราวที่พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์เสด็จฯ พระราชทานพระกฐิน จะทรงเสด็จฯ ไปสักการะพระรูปสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ขุน) ทุกครั้ง
พระวัดท้ายตลาด มีการค้นพบเมื่อครั้งกรุพระเจดีย์แตก ได้ปรากฎพระพิมพ์เนื้อผง จำนวนมากมายถึง 89,000 องค์ และมีหลายแบบหลายพิมพ์ ทั้ง พระพิมพ์ปางอุ้มบาตร พระพิมพ์ปางประทานพร พระพิมพ์ปางปรกโพธิ์ข้างเม็ด ปางโมคคัลลาน์-สารีบุตร ฯลฯ ซึ่งปางต่างๆ ดังกล่าว ล้วนเป็นคติการสร้างพระพุทธรูปซึ่งเกิดใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 3 ทั้งสิ้น นอกจากนี้ พุทธลักษณะองค์พระนับเป็นการออกแบบที่ได้สัดส่วนงดงามและประณีต ซึ่งดูแล้วน่าจะเป็นฝีมือการสร้างในระดับ “ช่างหลวง” ที่สำคัญ พระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเหมือนอย่างโบราณกษัตริย์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ด้วยการสร้างพระพิมพ์ตามจำนวนพระธรรมขันธ์ เพื่อเป็นการสืบทอดพระศาสนา จึงทรงโปรดฯ ให้ สมเด็จพระสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงคิดค้นคัดเลือกพระพุทธอิริยาบถปางต่างๆ ในพระพุทธประวัติ (นับรวมกับแบบเดิม 8 ปาง เป็น 40 ปาง ประดิษฐานไว้ในหอราชกรมานุสร วัดพระศรีรัตนศาสดาราม) จึงสันนิษฐานได้ว่าพระวัดท้ายตลาด น่าจะสร้างขึ้นโดยรัชกาลที่ 3 และด้วยเหตุผลประการสุดท้าย คือ การจะสร้างพระได้จำนวนมากมายถึง 8 หมื่นกว่าองค์นั้น สามัญชนคนธรรมดาทั่วไปคงจะเป็นไปได้ยากมากแน่นอน
ในช่วงแรกๆ ที่กรุแตกนั้น พระวัดท้ายตลาดยังไม่เป็นที่นิยมแพร่หลายนัก จนเมื่อคราวเกิดสงครามอินโดจีน ได้มีการนำพระซึ่งมีจำนวนมากส่งไปยังกระทรวงกลาโหม เพื่อแจกจ่ายไปยังเหล่าทัพต่างๆ เป็นการสร้างขวัญกำลังใจ ด้วยพุทธคุณเป็นที่ปรากฏประจักษ์แก่สายตาผู้ที่เข้าร่วมทัพ และบอกเล่าต่อเนื่องกันปากต่อปาก ทำให้พระวัดท้ายตลาดได้รับความนิยมและเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น จนปัจจุบันกลายเป็นพระพิมพ์เนื้อผงยอดนิยมสำหรับวงการนักนิยมสะสมพระเครื่องพระบูชาไทยไปแล้ว
ข้อสังเกตที่จะฝากไว้ในการพิจารณา “พระวัดท้ายตลาด” ประการหนึ่ง คือ นอกจากพระที่นำมาแจกจ่ายเมื่อคราวสงครามอินโดจีนแล้ว ยังมีการนำพระบางส่วนไปบรรจุในกรุพระเจดีย์ตามวัดต่างๆ อาทิ วัดตะล่อมและวัดธนบุรี เป็นต้น ดังนั้น จากสภาพแวดล้อมและสภาวะภายในกรุแต่ละกรุที่แตกต่างกัน องค์พระจึงมีลักษณะพื้นผิวที่ต่างกันด้วย เช่น พระที่นำไปบรรจุไว้ที่วัดตะล่อม ซึ่งจะบรรจุใต้ฐานชุกชีคลุกอยู่กับปูนขาว ทำให้เวลานำองค์พระออกมา ผิวขององค์พระจึงถูกปูนขาวจับอยู่โดยทั่วไป แลดูไม่เข้มขลังเหมือนกับพระที่ออกจากกรุวัดท้ายตลาด ความนิยมจึงลดหลั่นแตกต่างกันไปครับผม
ราคาปัจจุบัน
-
จำนวนผู้เข้าชม
13724 ครั้ง
สถานะ
โชว์พระ
โดย
makara995
ชื่อร้าน
มะกะระ พระกรุ
URL
http://www.makara.99wat.com
เบอร์โทรศัพท์
0813116011
ID LINE
0818306399
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงเทพ / 244-0-006xx-x
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี